เอกสาร ข้อมูล ความ ปลอดภัย สาร เคมี

Sunday, 19 June 2022
สวน-บอ-แกว-เชยงใหม

4°C สารในกลุ่มนี้มักทำปฏิกิริยารุนแรงกับน้ำ (water reactive) และติดไฟเมื่อสัมผัสกับน้ำหรืออากาศชื้น ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นจะเร็วหรือช้าขึ้นกับชนิดของสารเคมี สารเคมีบางตัวสามารถติดไฟขึ้นเองได้ เมื่ออุณหภูมิภายนอกถึงจุดสันดาปของสารเคมีนั้น โดยไม่ต้องอาศัยอุปกรณ์อื่นช่วย สารเคมีเหล่านี้ได้แก่ sodium, potassium, phosphorus เป็นต้น 1. 3 สารที่ไวต่อการทำปฏิกิริยากับน้ำ (water reactive substances) สารเคมีที่ไวต่อปฏิกิริยากับน้ำเกิดปฏิกิริยารุนแรง โดยเฉพาะเมื่อมีน้ำอยู่จำกัด สารเคมีในกลุ่มนี้ เช่น สาร alkali และ สาร alkali earth เช่น potassium, calcium สารในกลุ่ม anhydrous metal halides เช่น AlBr 3, GeCl 2 เป็นต้น 1. 4 สารเคมีที่เกิดเปอร์ออกไซด์ (peroxidizable substances) สารเคมีในกลุ่มนี้ ทำปฏิกิริยาอย่างช้าๆกับออกซิเจนในอากาศ โดยมีแสง และความร้อนเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา เกิดเป็นสารเปอร์ออกไซด์ ซึ่งสามารถก่อให้เกิดการระเบิดรุนแรงได้ การนำสารเคมีในกลุ่มนี้มาใช้ต้องแน่ใจว่าปราศจากสารเปอร์ออกไซด์ บางห้องปฏิบัติการกำหนดระยะเวลาจัดเก็บสารเคมีในกลุ่มนี้เป็นรายสารเคมี รายละเอียดสารเคมีในกลุ่มที่เกิดเปอร์ออกไซด์ และระยะเวลาจัดเก็บในห้องปฏิบัติการ (ตารางผนวกที่ 1 และ 2) 2.

  1. ค้นหาข้อมูลสารเคมีและผลิตภัณฑ์ - ฐานความรู้เรื่องความปลอดภัยด้านสารเคมี
  2. เอกสาร SDS คืออะไร? ทำไมทุกโรงงานถึงต้องมี?
  3. เอกสารข้อมูลความปลอดภัยสารเคมี
  4. สาระของเอกสารข้อมูลความปลอดภัยสารเคมี มีอะไรบ้าง
  5. ฐานข้อมูลความปลอดภัยสารเคมี | คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยสวนดุสิต
  6. เอกสารข้อมูลความปลอดภัย - วิกิพีเดีย

ค้นหาข้อมูลสารเคมีและผลิตภัณฑ์ - ฐานความรู้เรื่องความปลอดภัยด้านสารเคมี

  1. บี อิน สปอร์ต ส์ 1 eurosport 1.4
  2. ต้นไม้ในนาข้าว – สุ ด ย อ ด ข้ า ว ไ ท ย
  3. ฟอก เงิน โทษ
  4. เย ด twitter after who dubs
  5. เช็คลอตเตอรี่ 2 พฤษภาคม 2564 w
  6. เอกสารข้อมูลความปลอดภัยสารเคมี
  7. Sony 600mm f4 ราคา slp

เอกสาร SDS คืออะไร? ทำไมทุกโรงงานถึงต้องมี?

1. ผู้ใช้งานฐานข้อมูลความปลอดภัยสารเคมี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยสวนดุสิต สามารถสืบค้นเอกสารข้อมูลความปลอดภัยเคมีภัณฑ์ (MSDS) ของห้องปฏิบัติการหลักสูตรเทคโนโลยี หลักสูตรอาชีวอนามัยและความปลอดภัย หลักสูตรวิทยาศาสตร์เครื่องสำอาง และหลักสูตรสิ่งแวดล้อมเมืองและอุตสาหกรรมได้ 2. ผู้ใช้งานสามารถสืบค้นเอกสารข้อมูลความปลอดภัยเคมีภัณฑ์ (MSDS) ของห้องปฏิบัติการเคมีได้จากการแบ่งประเภทสารเคมี 9 ประเภท 3. ผู้ใช้งานสามารถสืบค้นเอกสารข้อมูลความปลอดภัยเคมีภัณฑ์ (MSDS) ของห้องปฏิบัติการเคมีได้จากชื่อสารเคมี (Chemical Name) ชื่อทั่วไป (General Name) ชื่อพ้องอื่นๆ (Synonym Name) หรือ รหัส UN. / และ รหัส CAS (Chemical Abstracts Service)ได้ 4. ข้อมูลนี้ประกอบด้วยรายละเอียดความปลอดภัยเบื้องต้นทางด้านข้อมูลกายภาพ อันตรายต่อสุขภาพอนามัย การปฐมพยาบาล การดับเพลิง การจัดการกรณีหกรั่วไหล อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล เป็นต้น 5. ข้อมูลนี้เป็นข้อมูลเบื้องต้นเท่านั้น เพื่อความปลอดภัยให้ผู้ใช้งานติดต่อขอทราบข้อมูลจำเพาะสารเคมีนั้นๆ จากผู้ผลิตหรือตัวแทนจำหน่ายอีกครั้ง 6. ผู้ใช้งานสามารถสืบค้นเอกสารกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับความปลอดภัยฯได้

เอกสารข้อมูลความปลอดภัยสารเคมี

© สงวนลิขสิทธิ์ ศูนย์ความเป็นเลิศด้านการจัดการสารและของเสียอันตราย อาคารวิจัยจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ชั้น 8 ซ. จุฬาฯ 12 ถ. พญาไท แขวงวังใหม่ เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 โทรศัพท์: 0-2218-4250 - 1 โทรสาร: 0-2219-2250 E-mail: จำนวนผู้เข้าชม 60309142 ตั้งแต่ 17 กรกฎาคม 2546

สาระของเอกสารข้อมูลความปลอดภัยสารเคมี มีอะไรบ้าง

สารเคมีสามารถแบ่งได้เป็นหลายประเภท แต่เมื่อพิจารณาถึงอันตรายต่อสุขภาพ สามารถแบ่งประเภทของสารเคมี ได้เป็น 1. สารเคมีที่ไวไฟ (flammable and combustible) วัตถุไวไฟ (flammable substances) หมายถึงวัตถุที่ง่ายต่อการติดไฟและเผาไหม้ในที่ที่มีอากาศ ของเหลวไวไฟ (flammable liquid) หมายถึงของเหลวที่มีจุดวาบไฟ ที่อุณหภูมิต่ำกว่า 37. 8°C ส่วนของเหลวติดไฟได้ (combustible liquid) หมายถึงของเหลวที่มีจุดวาบไฟสูงกว่า หรือเท่ากับ 37. 8°C บางกรณีมีการแยกประเภทสารไวไฟ ออกเป็นของแข็งและแก๊ส ตัวอย่างของแก๊สไวไฟ เช่น acetylene, ethylene oxide และ hydrogen เป็นต้น ในกลุ่มของสารเคมีที่ไวไฟ ยังสามารถแบ่งเป็นกลุ่มย่อย ดังนี้ 1. 1) สารเคมีที่ระเบิดได้ (explosive) สารเคมีที่ก่อให้เกิดการระเบิดเมื่อได้รับความร้อน แสง หรือตัวเร่ง (catalyst) ได้ที่พบในห้องปฏิบัติการ ได้แก่ สารประกอบในกลุ่ม nitrate, chlorate, perchloratesนอกจากนั้นสารประกอบของโลหะเช่น ผงแมกนีเซียม (Mg powder) หรือผงสังกะสี (Zn powder) เมื่อผสมกับอากาศจะสามารถระเบิดได้เช่นกัน 1. 2) สารเคมีที่ติดไฟเองได้ (pyrophorics) สารเคมีกลุ่ม pyrophorics ตามมาตรฐานของ US-OSHA ได้แก่สารเคมีที่สามารถติดไฟ (ignition) ได้เองที่อุณหภูมิเท่ากับหรือต่ำกว่า 54.

ฐานข้อมูลความปลอดภัยสารเคมี | คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยสวนดุสิต

กฎกระทรวง กำหนดมาตรฐานในการบริหาร จัดการ และดำเนินการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงานเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย พ. ศ. ๒๕๕๖ ****** อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๕ วรรคหนึ่ง และมาตรา ๘ วรรคหนึ่ง แห่งพระราชบัญญัติ ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน พ.

เอกสารข้อมูลความปลอดภัย - วิกิพีเดีย

สารเคมีที่มีฤทธิ์กัดกร่อน (corrosives) สารในกลุ่มนี้ ก่อให้เกิดการระคายเคืองต่อระบบทางเดินหายใจ ทำลายเยื่อบุผิวหนัง และเยื่อบุตา สารในกลุ่มนี้ที่สำคัญ ได้แก่ กรดแก่ ด่างแก่ สารที่ดูดน้ำ (dehydrating agent) และ สารออกซิไดซ์ (oxidizing agent) 2. 1 กรดแก่ (strong acid) หรือกรดเข้มข้นทุกชนิด สามารถก่อให้เกิดการระคายเคืองต่อผิวหนังและเยื่อบุตา เฉพาะอย่างยิ่งกรดไนตริก (HNO 3) กรดโครมิก (H 2 CrO 4) และกรดไฮโดรฟลูออริก (HF) ทั้งนี้การเคลื่อนย้ายกรดเหล่านี้ควรใส่ถุงมือยาง ผ้ายางกันเปื้อน รวมทั้งควรใส่หน้ากากป้องกันไอระเหย 2. 2 ด่างแก่ (strong base) เช่น NaOH, KOH, conc. NH 3 สารเหล่านี้ มีฤทธิ์ระคายเคืองตาสูง ดังนั้นการเคลื่อนย้ายสารเคมีในกลุ่มนี้ต้องใส่อุปกรณ์ป้องกันเช่นเดียวกันกับการเคลื่อนย้ายกรดแก่ 2. 3 สารที่ดูดน้ำ (dehydrating agent) สารเคมีในกลุ่มนี้ที่สำคัญ ได้แก่ กรดซัลฟูริก (sulfuric acid), sodium hydroxide, phosphorus pentoxide และ calcium oxide สารเหล่านี้หากสัมผัสผิวหนังก่อให้เกิดอาการไหม้ของผิวหนังได้ 2. 4 สารออกซิไดซ์ (oxidizing agent) ได้แก่ สารที่เป็นตัวรับอิเล็กตรอน (electron acceptor) ในปฏิกิริยาหรืออีกความหมายหนึ่งเป็นตัวให้ออกซิเจน สารเคมีในกลุ่มนี้ เช่น สารประกอบhypochlorite, permanganate และเปอร์ออกไซด์ เป็นต้น เนื่องจากสารเคมีในกลุ่มนี้เป็นตัวให้ออกซิเจน จึงสามารถเป็นตัวเร่งให้เกิดการสันดาปหรือเผาไหม้ได้

สาระของเอกสารข้อมูลความปลอดภัยสารเคมี มีอะไรบ้าง ผู้เขียน: ธิดารัตน์ คล่องตรวจโรค หน่วยงาน: ศูนย์ความเป็นเลิศแห่งชาติด้านการจัดการสิ่งแวดล้อมและของเสียอันตราย วันที่: 16 พ. ย. 2550 คำถาม สาระของเอกสารข้อมูลความปลอดภัยสารเคมี มีอะไรบ้าง คำตอบ ปัจจุบัน ตามระบบ GHS (The Globally Harmonized System of Classification and Labelling of Chemicals) ของสหประชาชาติ ได้กำหนดรูปแบบและข้อมูลใน SDS ไว้ 16 ข้อ เนื้อหาหลัก ก็คือ เพื่อสื่อถึงความเสี่ยง การป้องกันและวิธีใช้สารเคมีอย่างปลอดภัย และสามารถจัดการกับสารเคมีนั้นได้เมื่อเกิดเหตุ โดยมีหัวข้อดังต่อไปนี้ 1. ข้อมูลเกี่ยวกับสารเคมี และบริษัทผู้ผลิตและหรือจำหน่าย (Identification) 2. ส่วนประกอบและข้อมูลเกี่ยวกับส่วนผสม (Composition/ Information on Ingredients) 3. ข้อมูลระบุความเป็นอันตราย (Hazards Identification) 4. มาตรการปฐมพยาบาล (First Aid Measures) 5. มาตรการผจญเพลิง (Fire Fighting Measures) 6. มาตรการจัดการเมื่อมีการหกรั่วไหลของสารโดยอุบัติเหตุ (Accidental Release Measures) 7. การขนถ่ายเคลื่อนย้ายและการจัดเก็บ (Handling and storage) 8. การควบคุมการรับสัมผัสและการป้องกันภัยส่วนบุคคล (Exposure Controls/Personal Protection) 9.

ศ. ๒๕๕๖: คู่มือการฝึกอบรม "ความปลอดภัยและสุขภาพอนามัยในการใช้สารเคมีในการทำงาน" สถาบันความปลอดภัยในการทำงาน: คู่มือการจัดการด้านความปลอดภัยสารเคมีสำหรับวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม กรมโรงงานอุตสาหกรรม: การป้องกันและควบคุมสารเคมี (Safety with chemical) สมาคมส่งเสริมความปลอดภัยและอนามัยในการทำงาน (ประเทศไทย) ในพระราชูปถัมภ์