การ นอน กัดฟัน

Sunday, 19 June 2022
samsung-a71-5g-ราคา
  • รีวิว Acer Iconia Tab 8 W1-810 วินโดวส์แท็บเล็ตราคาประหยัด 6,900 บาท | DroidSans
  • เสียง นก ร้อง 4th annual
  • ปัญหาเฉพาะหน้า แปลว่าอะไร ดูความหมาย ตัวอย่างประโยค หมายความว่า พจนานุกรม Longdo Dictionary แปลภาษา คำศัพท์
  • มัน กุ้ง แม็คโคร
  • กางเกง บอล nike elemental
  • RedcrossOnRadio l การนอนกัดฟัน - YouTube
  • การนอนกัดฟัน
  • ลวด 1 ขด ราคา slp
  • ขาย toyota supra a70 review
  • การนอนกัดฟัน (Bruxism) - Bangkok Health Research Center
  1. การนอนกัดฟัน / ความผิดปกติบริเวณขมับ-ขากรรไกร(TMD) - We Dent
  2. สิ่งมีชีวิต (Living things) และสิ่งไม่มีชีวิต (Non-Living things) - sirirugchoojun
  3. RedcrossOnRadio l การนอนกัดฟัน - YouTube
  4. การนอนกัดฟัน
  5. RedcrossOnRadio l การนอนกัดฟัน – www.radio.rmutt.ac.th
  6. การนอนกัดฟันและการบดฟัน | คอลเกต
  7. การนอนกัดฟัน (Bruxism) - Bangkok Health Research Center

การนอนกัดฟัน / ความผิดปกติบริเวณขมับ-ขากรรไกร(TMD) - We Dent

ความเครียดทางจิตใจ เป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดการขบเขี้ยวเคี้ยวฟันได้ในขณะที่อยู่เฉยๆ หรืออาจจะ เกิดในขณะนอนหลับได้ ความเครียด ทางจิตใจที่เกิดจากการข่มระงับ อารมณ์ไว้ ไม่ให้แสดงความก้าวร้าว ดุดัน อารมณ์เคร่งเครียดเป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้เกิดการนอนกัดฟัน 4. บางรายอาจเกิดจากการฝัน การสบขอบฟันที่ผิดปกติ ฟันซ้อนเก โรคในช่องปาก ฟันผุ เหงือกอักเสบ 5. ผู้ป่วยที่มีอาการนอนกัดฟันจะมีบุคลิกภาพ และอารมณ์แตกต่างจากคนปกติทั่วไป กล่าวคือ จะมีบุคลิกภาพที่มีแนวโน้มที่จะเกิด หรือเพิ่มความเครียดได้ง่าย เป็นคนที่มีอารมณ์ก้าวร้าว และเป็นคนที่วิตกกังวลได้ง่าย แต่มักไม่พบว่ามีความผิดปกติ ของระบบประสาทเข้ามาร่วมด้วย 6. อาการนอนกัดฟัน อาจมีสาเหตุมาจากยาที่รับประทานก็ได้ ยาที่เคยมีรายงานว่าทำให้เกิดอาการนอนกัดฟันได้ คือ แอมเฟตามีนที่ใช้ร่วมกับ L-dopa, ยา fenfluramine ซึ่งเป็นอนุพันธ์ของแอมเฟตามีน และมีรายงานว่า พบการนอนกัดฟันในผู้ป่วยที่เป็นโรค Tardive Dyskinesia ซึ่งเชื่อว่าเป็นผลมาจากการใช้ยา phenothiazine เป็นระยะเวลานาน นอกจากนี้ยังมีรายงานว่า การดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ผสมอยู่ จะสามารถทำให้เกิดอาการนอนกัดฟันได้ การวินิจฉัย 1.

การนอนกัดฟัน

หลีกเหลี่ยงคาเฟอีน คาเฟอีนอาจมีผลให้กล้ามเนื้อเกร็งตึง ควรลดหรืองดการดื่มชา กาแฟ น้ำอัดลม และช็อคโกแลต หรืออาหารอื่นๆ ที่มีส่วนประกอบของคาเฟอีน 5. ระวังไม่อ้าปากกว้าง เป็นเวลานานๆ หลีกเลี่ยงการหาว รับประทานอาหารคำโตๆ ตะโกน อ้าปากกว้าง ร้องเพลง และการทำฟันที่ต้องอ้าปากกว้างๆ เป็นเวลานานๆหากจะหาวให้เอามือค้ำไว้ใต้คางอย่าให้หาวอ้าปากกว้าง 6. ทรงทำที่ดี ฝึกทรงท่าให้ศีรษะ คอ หลัง และไหล่ไม่เกร็งตัวโดยเฉพาะในขณะนั่งทำงาน หรือใช่คอมพิวเตอร์ฝึกยืดและผ่อนคลายกล้ามเนื้อต้นคอ ไหล่ และหลัง 7. สร้างเสริมการนอนหลับ พยายามนอนหลับให้เพียงพอเลี่ยงการนอนคว่ำหรือท่าอื่นๆที่จะทำให้ขากรรไกรและคอเกร็งตึง 8. ออกกำลังกายเป็นประจำสม่ำเสมอ เพื่อให้กล้ามเนื้อผ่อนคลายทั่วตัว 9. ฝึกการผ่อนคลายจิตใจ ลดความตึงเครียด การทำงานที่หักโหมจนเกินไป หาเวลาพักผ่อน Credit: คลินิกวิทยาระบบบดเคี้ยว ศูนย์ความเจ็บปวดใบหน้า-ช่องปากและทันตเวชศาสตร์การนอนหลับ คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

1. ปรับพฤติกรรมการรับประทานอาหาร สามารถทานอาหารที่เคี้ยวได้โดยไม่มีอาการเจ็บหรือปวดหรือความไม่สบายของกรามหรือขากรรไกร ตั้งแต่อาหารอ่อนถึงอาหารปกติ แบ่งอาหารออกเป็นคำเล็กๆ ไม่รับประทานอาหารคำโต อาจหลีกเลี่ยงอาหารบางชนิดในช่วงที่มีอาการ เช่น อาหารเหนียว แข็ง กรอบ และอาหารที่ต้องกัดแทะ เช่น ปลาหมึก เนื้อ ก้านผัก ฝรั่ง มะม่วงดิบ มะเขือเปาะ ถั่ว ข้อไก่ กระดูกอ่อน หมากฝรั่ง พยายามเคี้ยวอาหารโดยสลับกันเคี้ยวทั้งสองข้างเพื่อกล้ามเนื้อบดเคี้ยวทำงานสมดุลกัน 2. ประคบอุ่นอย่างถูกต้องและสม่ำเสมอจนอาการทุเลา การประคบน้ำอุ่น โดยใช่ผ้าขนหนูชุบน้ำอุ่นที่ค่อนข้างร้อนบิดหมาดๆหรือใช้ผ้าชุบน้ำอุ่นหุ้มเจลร้อน (hot/cold pack) ที่ทำให้ร้อนแล้วหรือกระเป๋า/ขวดบรรจุน้ำร้อนประคบขากรรไกรทั้งสองข้างประมาณ 20 นาที วันละ 2-4 ครั้ง แล้วตามด้วยการนวด/คลึงเบาๆ บริเวณกล้ามเนื้อดังกล่าวและถ้าอ้าปากจำกัดด้วยอาจใช้นิ้วมือช่วยยืดเพิ่มระยะอ้าปากด้วย 3. ฝึกคลายกล้ามเนื้อกราม/ขากรรไกรในระหว่างวัน พยายามสังเกตตนเองว่าขณะไม่เคี้ยวอาหาร ฟันบน/ล่างแตะหรือสัมผัสกันหรือไม่ หรือสังเกตพบว่าตนเองมีการกัดหรือเน้นฟันหรือไม่ โดยปกติเมื่อขากรรไกรอยู่ในท่าพักปากสนิทฟันบนและล่างไม่ควรกระทบกัน พยายามฝึกผ่อนขากรรไกรให้อยู่ในท่าสบาย (lip together, teeth apart) 4.

ซอส มะเขือเทศ ภูเขาทอง